Curriculums
Site: | หน้าแรก |
Course: | Information |
Book: | Curriculums |
Printed by: | Guest user |
Date: | Wednesday, 1 February 2023, 6:23 AM |
Bachelor
1. หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Music. (Music) (B.M)- กลุ่มวิชาดนตรีพื้นบ้าน (Folk Music)
- กลุ่มวิชาดนตรีไทย (Thai Music)
- กลุ่มวิชาดนตรีตะวันตก (Western Music)
Download รายละเอียดหลักสูตร
2. หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) สาขาวิชาดนตรีศึกษา
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Music Education) (B.Ed. Music Education)- กลุ่มวิชาดนตรีพื้นบ้าน (Folk Music)
- กลุ่มวิชาดนตรีไทย (Thai Music)
- กลุ่มวิชาดนตรีตะวันตก (Western Music)
Download รายละเอียดหลักสูตร
Master
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Music. (Music) (M.M)
- กลุ่มวิชาเอกดนตรีวิทยา (Musicology)
- กลุ่มวิชาเอกดนตรีศึกษา (Music Education)
- กลุ่มวิชาเอกดนตรีพื้นบ้าน (Folk Music)
- กลุ่มวิชาเอกหมอลำ (Mor lam Performing Arts)
- กลุ่มวิชาเอกการจัดการดนตรีและศิลปะการแสดง (Music Management and Performing Arts)
- กลุ่มวิชาเอกบริหารธุรกิจดนตรีและเทคโนโลยีดนตรี (Music Business Adminstration and Music Technology)
- กลุ่มวิชาเอกการประพันธ์เพลง (Music Composition)
- แผน ก แบบ ก 1 หมายถึง การเรียนที่มีเพียงการทำวิทยานิพนธ์อย่างเดียว มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และจะต้องทำกิจกรรมทางวิชาการตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ อาจมีการเรียนกระบวนวิชาเพิ่มเติมได้โดยไม่นับหน่วยกิตสะสม
- แผน ก แบบ ก 2 หมายถึง การเรียนที่เป็นลักษณะของการศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต หน่วยกิตสะสมเป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรของสาขาวิชา
- แผน ข หมายถึง การศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษา และทำการค้นคว้าแบบอิสระไม่น้อยกว่า 3-6 หน่วยกิต
Download >> แผนหลักสูตร
Ph.D.
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ (ปร.ด.)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Music. (Ph.D. Music)
- - แขนงวิชาดนตรีวิทยา (Musicology)
- - แขนงวิชาดนตรีศึกษา (Music Education)
- - แขนงวิชาการบริหารจัดการทางดนตรี (Music Adminstration)
หลักสูตรระดับปริญญาเอก แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
แบบ 1 เป็นการศึกษาที่เน้นการวิจัย ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ แยกเป็น
- แบบ 1.1 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบบ 1.2 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต
- แบบ 2.1 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต แบบ 2.2 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต และศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต